ประเภทของคนพิการ
โดย พวงแก้ว กิจธรรม
คนส่วนใหญ่มักรู้จัก
การเคลื่อนไหว
หลากหลายประเภท
“ คนพิการ ” เฉพาะที่พบเห็นกันเจนตา ได้แก่ คนพิการด้านร่างกาย หรือ( แขนด้วน ขากุด เป็นอัมพาต ฯลฯ ) และคนตาบอด เป็นต้น แท้ที่จริงคนพิการมีในพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ
.ศ. 2534 มาตรา 4 ได้ให้นิยาม “ คนพิการ ”และ
“ การฟื้นฟูสมรรถภาพ ” ว่า“
หรือทางจิตใจ ตามประเภทและหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎกระทรวง
คนพิการ ” หมายความว่า คนที่มีความผิดปกติหรือบกพร่องทางร่างกาย ทางสติปัญญา“
ความสามารถของคนพิการให้มีสภาพดีขึ้นโดยอาศัยวิธีการทางการแพทย์ ทางการศึกษา ทางสังคม และ
การฝึกอาชีพ เพื่อให้คนพิการได้มีโอกาสทำงาน หรือดำรงชีวิตในสังคมทัดเทียมคนปกติ
การฟื้นฟูสมรรถภาพ ” หมายความว่า การเสริมสร้างสมรรถภาพ หรือการเสริมสร้างตามกฎกระทรวง
สมรรถภาพคนพิการ พ
สาธารณสุขได้กำหนดให้คนพิการมี
ฉบับที่ 2 ( พ.ศ. 2537 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติการฟื้นฟู.ศ. 2534 มาตรา 4 และมาตรา 20 โดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง5 ประเภท โดยแต่ละประเภทมีลักษณะ ดังนี้1)
คนพิการทางการมองเห็นได้แก่(
ก) คนที่มีสายตาข้างที่ดีกว่าเมื่อใช้แว่นสายตาธรรมดาแล้วมองเห็นน้อยกว่า 6/18หรือ
20/70 ลงไปจนมองไม่เห็นแม้แต่แสงสว่าง หรือ(
ข) คนที่มีลานสายตาแคบกว่า 30 องศา2)
คนพิการทางการได้ยินหรือการสื่อความหมาย ได้แก่(
ข้างที่ดีกว่าที่มีความดังเฉลี่ยดังต่อไปนี้
ก) คนที่ได้ยินเสียงที่ความถี่ 500 เฮิรตซ์ 1000 เฮิรตซ์ หรือ 2000 เฮิรตซ์ ใน หู(1)
สำหรับเด็กอายุไม่เกิน 7 ปี เกิน 40 เดซิเบล ขึ้นไปจนไม่ได้ยินเสียง(2)
สำหรับคนทั่วไปเกิน 55 เดซิเบล ขึ้นไปจนไม่ได้ยินเสียง หรือ(
จนไม่สามารถสื่อความหมายกับคนอื่นได้
ข) คนที่มีความผิดปกติหรือความบกพร่องในการเข้าใจหรือการใช้ภาษาพูด